วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

การปฏิบัติตนในวันเข้าพรรษา

การปฏิบัติตนในวันเข้าพรรษา

             แม้การเข้าพรรษาจะเป็นเรื่องของภิกษุ แต่พุทธศาสนิกชนก็ถือเป็นโอกาสดีที่จะได้ทำบุญ รักษาศีล และชำระจิตใจให้ผ่องใส ในวันนี้หรือก่อนวันนี้หนึ่งวัน พุทธศาสนิกชนมักจะ
จัดเครื่องสักการะเช่น ดอกไม้ ธูปเทียน เครื่องใช้ เช่น สบู่ ยาสีฟัน เป็นต้น มาถวาย อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การปฏิบัติตนในวันเข้าพรรษา

ศาสนพิธีและพิธีกรรมทางศาสนา

ศาสนพิธี  หมายถึง  ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่ถือปฎิบัติในศาสนา  เมื่อนำมาใช้ในพระพุทธศาสนา  จึงหมายถึงระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่พึงปฎิบัติในพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีต่างๆ  ช่วยทำให้ความศรัทธาต่อพระ อ่านเพิ่มเติม
ศาสนพิธีทางศาสนาพุทธ เช่น การตักบาตร ทอดกฐิน เป็นต้น

การบริหารจิตและเจริญปัญญา

การสวดมนต์แปลและ แผ่เมตตา
การไหว้พระสวดมนต์เป็นการแสดงความเคารพต่อพระรัตน ตรัยที่เราต้องปฏิบัติให้พร้อมทั้งทางกาย วาจา และใจ เพื่อให้เป็นการเสริมสร้างสติปัญญา ผู้ที่ปฏิบัติเป็นประจำจะเกิดสติสัมปชัญญะ มีจิตเป็นสมาธิ ประณีตและมีคุณธรรม ทำให้ความเห็นถูกต้องตามหลักของพระพุทธศาสนา
          ในขณะที่สวดมนต์ถือเป็นการ บริหารจิตและเจริญปัญญาเบื้องต้น จะทำให้มีสติและสัมปชัญ อ่านเพิมเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การบริหารจิตและเจริญปัญญา

พระไตรปิฎก

พระไตรปิฏก แปลว่า ๓ คัมภีร์ เมื่อแยกเป็นคำๆ ว่า พระ + ไตร + ปิฏก คำว่า "พระ" เป็นคำแสดงความเคารพหรือยกย่อง คำว่า "ไตร" แปลว่า สาม คำว่า "ปิฏก" แปลได้ ๒ อย่าง คือ แปลว่า คัมภีร์ หรือแปลว่า กระจาด ตะกร้า
     ดังนั้น พระไตรปิฏก จึงหมายถึง สิ่งที่รวบรวมคำ อ่านเพิ่มเติม

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
พระรัตนตรัย คือแก้วอันประเสริฐ (ของชาวพุทธ) 3 ประการ ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์พระพุทธ     คือ ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เองแล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ตามพระธรรม     คือ  คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าพระสงฆ์     คือ ผู้ปฏิบัติชอบตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วสอนผู้อื่นให้ประพฤติปฏิบัติตาม
ความสำคัญของพระรัตนตรัย
      พระรัตนตรัยนอกจากจะเป็นแก้วอัน อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนากับการศึกษาที่สมบูรณ์ การเมืองและสันติภาพ

พระพุทธศาสนากับการเมืองและสันติภาพ

 มนุษย์ไม่อาจอยู่โดดเดี่ยวตามลำพัง จำเป็นต้องรวมกันอยู่เป็นสังคม เป็นกลุ่มก้อน ดังนั้นจำเป็นต้องจัดระบบในการอยู่ร่วมกัน โดยจะต้องมีฝ่ายปกครอง และอยู่ภายใต้การปกครอง ซึ่งไม่ว่าการปกครองจะเป็นลักษณ อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พระพุทธศาสนากับการศึกษาที่สมบูรณ์ การเมืองและสันติภาพ

ความแตกต่างระหว่างพระพุทธศาสนากับปรัชญา

ความแตกต่างระหว่างพระพุทธศาสนากับปรัชญา 
พระพุทธศาสนาและปรัชญามีความแตกต่างกัน โดยสรุปในประเด็นดังต่อไปนี้
  1. พุทธศาสนาเกิดจากการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ไม่ อ่านเพิ่มเติม

ความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย

ความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย
            พระพุทธศาสนาอยู่คู่กับสังคมไทยมานาน วิถีชีวิตของชาวไทยส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา  ชาวไทยร้อยละ 95 นับถือพระพุทธศาสนา  ได้นำหลักการปฏิบัติทางพระพุทธศาสนามาเป็นแนวทางแห่งการดำเนินชีวิตจนกลายเป็นรากฐานทางวัฒนธรรม และเอกลักษณ์มรดกของชาติไทยตราบเท่าทุกวันนี้
            ในชั้นนี้ นักเรียนจะได้ศึกษาความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อ อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความสำคัญของพระพุทธ

หลักการของพระพุทธศาสนา

หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักการวิทยาศาสตร์
หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์มีทั้งส่วนสอดคล้องกันและส่วนที่แตกต่างกันดังต่อไปนี้
  1. 1.      ความสอดคล้อ อ่านเพิ่มเติม

ความเป็นมาของพระพุทธ

ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจาก ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรี อ่านเพิ่มเติม
Dharmacakra flag (Thailand).svg